หลักสูตร
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
- หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- สาขาวิชาโบราณคดี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
- สาขาวิชาโบราณคดี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
- สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
- สาขาวิชาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก
- สาขาวิชาภาษาสันสกฤต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567/ นานาชาติ)
- สาขาวิชาภาษาสันสกฤต
- สาขาวิชามานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
- สาขาวิชามานุษยวิทยา
- สาขาวิชาการจัดการจดหมายเหตุและสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
- สาขาวิชาการจัดการจดหมายเหตุและสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม
- หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
ปรัชญา
รายละเอียดหลักสูตร
แผนการศึกษา
คำอธิบายรายวิชา
มคอ.3
ปรัชญา
พัฒนาองค์ความรู้และสร้างบุคลากรให้เกิดความตระหนักในสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลายนำสู่การสร้างสรรค์สังคมที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของความเข้าใจในความแตกต่างและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ความสำคัญ
สาขาวิชามานุษยวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ เพื่อทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่นโดยเน้นการศึกษาวัฒนธรรมที่มีความหลากหลาย เพื่อนำไปสู่การยอมรับในความแตกต่างและเข้าใจสังคมวัฒนธรรมตามบริบทเงื่อนไขเฉพาะพื้นที่ ประการสำคัญยังให้ความสำคัญกับแนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานทางมานุษยวิทยาพร้อมแนวทางการประยุกต์องค์ความรู้ในการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคม การศึกษาสาขาวิชามานุษยวิทยาจึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ชุมชน และสังคมวัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีฐานความรู้ในเรื่องแนวคิด ทฤษฎีและระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยา ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างทักษะและความสามารถทางด้านการวิจัย
- เพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยและพัฒนาจิตใจของบัณฑิตให้เกิดการยอมรับความแตกต่างของกลุ่มสังคมที่ดำรงอยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทั้งในสังคมไทยและในระบบสังคมโลก จนนำไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ยอมรับในภูมิปัญญาและสิทธิชุมชนประเภทต่าง ๆ ที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี
- เพื่อสร้างบัณฑิตให้สามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านมานุษยวิทยาและจริยธรรมการวิจัยในการสร้างงานวิชาการที่ได้มาตรฐานและการทำงานตามองค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ภาคการศึกษา 1/2565
320 502 Research Methodology คลิกที่นี่
320 521 Anthropological Thoughts and Theories คลิกที่นี่
320 525 Practicing Anthropology.2565 คลิกที่นี่
320 621 Seminar in Anthropology คลิกที่นี่
ภาคการศึกษา 2/2565
320 518 Religion, Belief, and Ritual คลิกที่นี่
320 530 Anthropology of Emotion and The Senses 65 คลิกที่นี่
320-504-Community-Based-Cultural-Heritage-Management คลิกที่นี่
320503 Ethnographic Writing and Presentation2565 คลิกที่นี่
320512 Self, Identity and Power Relation คลิกที่นี่