หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา
ปรัชญา
ความรู้ความเข้าใจสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย จะนำไปสู่การสร้างสรรค์สังคมที่ดีงามบนพื้นฐานของความเข้าใจในศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์
ความสำคัญ
วิชามานุษยวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์เพื่อทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่นโดยเน้นการศึกษาวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายเพื่อนำไปสู่การยอมรับในความแตกต่างและเข้าใจสังคมวัฒนธรรมตามบริบทเงื่อนไขเฉพาะพื้นที่ การศึกษาวิชานี้จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชน สังคม และผู้คน
วัตถุประสงค์
1) เพื่อสร้างความรู้ในเรื่องแนวคิดทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยาอัน
นำไปสู่การสร้างทักษะและความสามารถทางด้านการวิจัยเพื่อการทำความเข้าใจ
เกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์
2) เสริมสร้างลักษณะนิสัยและพัฒนาจิตใจที่ยอมรับความแตกต่างของกลุ่มสังคมที่
ดำรงอยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจและ
เทคโนโลยีทั้งในสังคมไทยและในระบบสังคมโลก อันจะเป็นพื้นฐานของการสร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้ที่ยอมรับในภูมิปัญญาและสิทธิชุมชนประเภทต่าง ๆ ที่จะอยู่
ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี
3) เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะสามารถวิเคราะห์และประยุกต์ใช้องค์ความรู้และระเบียบวิธี
วิจัยทางด้านมานุษยวิทยาในการทำงานทางด้านสังคมและวัฒนธรรมใน
หน่วยงาน องค์กรภาครัฐและเอกชน และเพื่อการพัฒนาประเทศ
4) เพื่อสร้างและผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและจริยธรรมมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง
สังคมและประเทศชาติ
ภาคการศึกษา 1/2565
320 101 Introduction to Sociology- AUNQA คลิกที่นี่
320 102 Introduction to Anthropology คลิกที่นี่
320 201 มานุษยวิทยากายภาพและวัฒนธรรม - AUNQA คลิกที่นี่
320 217_eth of sea 65 คลิกที่นี่
320 222_ Myth and Ritual65 คลิกที่นี่
320 223_ thai-siam65 คลิกที่นี่
320 301_English reading in anthropology คลิกที่นี่
320 310 Social and Cultural Changes (มคอ.3) คลิกที่นี่
320 332 Current Issues in Anthropology คลิกที่นี่
320 336 Critical Anthropology of Mass Culture คลิกที่นี่
320 339 Medical Anthropology.2565 คลิกที่นี่
320 343 Anthropology of sex and sexuality (มคอ.3) คลิกที่นี่
320 344 Seminar on Anthropological Research Topics คลิกที่นี่
320 352 Anthropology of Food คลิกที่นี่
320205,320202_Social and Cultural Anthropology คลิกที่นี่
320225_320213 psycho Anthro_self and society คลิกที่นี่
ภาคการศึกษา 2/2565
320 103 Ecological Anthropology.2565 คลิกที่นี่
320 204 _164 Kinship in Anthropology คลิกที่นี่
320 205-164 fieldwork65 คลิกที่นี่
320 216 Anthropology in Cyber space คลิกที่นี่
320 216-59 320 206-164 Nature of Culture คลิกที่นี่
320 218-59 Family Relationships 320 208-164 Family and marriage คลิกที่นี่
320 220-59 320 209-164 Thai Folklife docx คลิกที่นี่
320 312 Religion and culture คลิกที่นี่
320 313 Contemporary Anthro Theories_มคอ 3_65 คลิกที่นี่
320 315 Anthropology of body คลิกที่นี่
320 332 Current Issues in Anthropology คลิกที่นี่
320 333 Visual Anthropology 65 คลิกที่นี่
320 344 Seminar on Anthropological Research Topics มคอ3 65 คลิกที่นี่
320 347 – 59 Anthropology in film คลิกที่นี่
320 348 Anthropology of Emotion 2565 คลิกที่นี่
320 349 Anthropology in Cyber space คลิกที่นี่
320 351 Political Ecology.2565 คลิกที่นี่
320311-59 Research คลิกที่นี่
320511-2565 Death, Dying, and Mourning คลิกที่นี่
320513 Multiculturalism Ethnicity คลิกที่นี่
SU 157 Culture in Everyday Life คลิกที่นี่