สาขาวิชาภาษาตะวันออก

ภาควิชาภาษาตะวันออก


Youtube:- Facebook: คลิกที่นี่
โปสเตอร์ สาขาวิชาภาษาไทย: คลิกที่นี่

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเป็นหลักสูตรที่นอกจากจะศึกษาภาษาและวรรณคดีไทยแล้ว ยังบูรณาการการศึกษาและการวิจัยด้านภาษาและวรรณคดีไทยกับการเรียนรู้ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ รวมทั้งเป็นหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาจารึกและเอกสารโบราณ อันเป็นข้อมูลสำคัญในการศึกษาโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมของไทย ปัจจุบันประเทศไทยขาดแคลนบุคลากรที่มีศักยภาพในด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย ภาษาศาสตร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ่านจารึกและอักษรโบราณ

อาจารย์ อาภาโสม ฉายแสงจันทร์ (หัวหน้าภาควิชา)

   

อาจารย์ อาภาโสม ฉายแสงจันทร์

E-mail :chaisangjan_a@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103042

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (วรรณคดีไทย), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศศ.ม. (จารึกภาษาไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

  • 1. ผ้า : ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาของสตรีสุโขทัย (Textiles: The Faith in Buddhism of Sukhothai Women). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 300-308, 25 กรกฎาคม 2561. ผู้วิจัย 1. อาภาโสม ฉายแสงจันทร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี 2. อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี

การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    รองศาสตราจารย์ ดร.สำเนียง เลื่อมใส

    E-mail : leurmsai_s@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103047

    ประวัติการศึกษา

    ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สำนักเรียนวัดดาวดึงษาราม

    พธ.บ. (ศาสนา) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    Ph.D. (Sanskrit), Banaras Hindu University, India

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทพระมหาเมาทคัลยายนะกับพระมาลัยในคัมภีร์พระพุทธศาสนา, 2559-2560.
    • การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    • “แนวทางการจัดการอาหารปลอดภัยที่ยั่งยืนด้วยสัมมาอาชีวะสำหรับสังคมไทย (The Way of Sustainable Food Safety Management through Right Livelihood for Thai Society),” บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ 13 (มิถุนายน 2560): หน้า 146-156.
    • “กรรม" ในไภษัชยวัสตุแห่งคัมภีร์มูลสรวาสติวาทวินยวัสตุ ("Karma" in Bhaisajyavastu of The Scripture of Mulasarvastivada)” วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับพิเศษ (มกราคม 2561): หน้า 250-263.
        ผู้วิจัย
      • สำเนียง เลื่อมใส ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • เสกสรรค์ สว่างศรี
    • ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

    • มหาวัสตุอวทาน เล่ม 1. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2553, 512 หน้า.
    • มหาวัสตุอวทาน เล่ม 2. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2557, 714 หน้า.
    • มหาวัสตุอวทาน เล่ม 3. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2560, 656 หน้า.

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา

    E-mail : khatshima_k@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103034

    ประวัติการศึกษา

    ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สนามหลวงแผนกบาลี

    ร.บ. (ทฤษฎีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • Note on Thai Terminology : the Status of Khmer-loanwords in Thai and her Homeland. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 127-133, 8-9 December 2016.
        ผู้วิจัย
      • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • Phnom Dongrak Mountain Range: an Area-studies for Peace. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 17-25, 8-9 December 2016.
        ผู้วิจัย
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • บุพกถาของรัฐธรรมนูญกัมพูชา (The Preface of Constitution of Cambodia). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 40-46, 25 กรกฎาคม 2561
        ผู้วิจัย
      • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • พัชราพรรณ กะตากูล
    • พิธีแต่งงานของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทยที่ตำบลชุมแสง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ (A Study of Wedding Ceremony of Chum Seang Sub-district, Chomphra district, Surin province). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 245-253, 25 กรกฎาคม 2561.
        ผู้วิจัย
      • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ทิศติยาทร ดาทอง
    • TRANSLITERATION OF PALI INTO THAI SCRIPT: PROBLEMS AND SOLUTIONS. THE 14th International Conference on Asia Pacific Cultural Values. Angkor Century Hotel, Siem Reap, Cambodia, pages 52-60, 19-22 December 2018.

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ มั่งมีสุขศิริ

    E-mail : mangmeesukhsiri_s@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103047

    ประวัติการศึกษา

    ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สำนักเรียนวัดดาวดึงษาราม

    พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    Ph. D. (Sanskrit), University of Delhi, India

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • โฉมงามสำคัญไฉน?:อลังการกับคติความเชื่อกามเทพในจารึกภาษาสันสกฤตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (What a grand beauty? : the Poetic Ornaments and the belief of Kamadeva Cupid in King Jayavarman VII's Sanskrit Inscriptions). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 73–85, 25 กรกฎาคม 2561.
        ผู้วิจัย
      • สมบัติ มั่งมีสุขศิริ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • นิพัทธ์ แย้มเดช

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย

    E-mail : klinnoi_c@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103047

    ประวัติการศึกษา

    ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค)

    พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    Ph.D. (Sanskrit), University of Pune, India

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อในวิษณุปุราณะ, 2560-2561.
        ผู้วิจัย
      • ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติชัย พินโน

    E-mail : pinno_k@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103042

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยศิลปากร

    อ.ม. (ภาษาศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การศึกษาบันทึกการเดินทางและประสบการณ์ในต่างประเทศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, 2561-2562.
    • การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • “นิราสสังขาร: การเดินทางเพื่อความหลุดพ้น,” ดำรงวิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): หน้า 177-200.
    • “ราชาภิเษกพระเจ้ากรุงสเปน: พระราชบันทึกเหตุการณ์ที่สื่อสะท้อนพระบุคลิกภาพของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (The Spanish Coronation: The Account of Events Reflecting King Rama VI's Personality),” ดำรงวิชาการ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560): หน้า 169-195.
    • “วัยแสบสาแหรกขาด : ภาพสะท้อนปัญหาเด็กและเยาวชนในสังคมร่วมสมัย (Broken : A Reflection of Children and Adolescence Problems in Contemporary Society),” Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561): หน้า 255-270.
    • ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

    • ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. 2559. ผู้เขียน
      1. กิตติชัย พินโน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      2. อมรชัย คหกิจโกศล ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 4 วรรณคดีไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2560, 880 หน้า. ผู้เขียน
      1. กิตติชัย พินโน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      2. อมรชัย คหกิจโกศล ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • วรรณกรรมไทยปัจจุบัน. ถ่ายสำเนาเย็บเป็นรูปเล่ม, 2560, 164 หน้า.

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อมรชัย คหกิจโกศล

    E-mail :khahakitkoson_a@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103004

    ประวัติการศึกษา

    ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน), มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

      • การศึกษาทัศนคติของชาวไทยและชาวจีนที่มีต่อกันในนวนิยายไทย, 2559-2560.

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

      • “การเสด็จพระราชดำเนินของมกุฎราชกุมารแห่งรัสเซียในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว : วรรณกรรมบันทึกที่สะท้อนภาพสังคมและราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภชของไทยสมัยรัชการที่ 6,” Veridian E-Jounal ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560): หน้า 1702 - 1725.

    ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

    • ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. 2559. ผู้เขียน 1. กิตติชัย พินโน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี 2. อมรชัย คหกิจโกศล ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี

    อาจารย์ ดร.จตุพร โคตรกนก

    E-mail : khotkanok_c@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103035

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    Diplôme d'Études Approfondies de langues, Litteratures et Societes Institut National des Langues et Civilisations Orientales, France

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

      • Note on Thai Terminology : the Status of Khmer-loanwords in Thai and her Homeland. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 127-133, 8-9 December 2016.
          ผู้วิจัย
        • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
        • ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
        • จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • สมุดพระตำหรับขี่ช้างฉบับหอสมุดแห่งชาติ (Samut Pra Tamrap Khi Chang of National Library of Thailand). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 124-131, 25 กรกฎาคม 2561.
          ผู้วิจัย
        • จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
        • วริศรา โกรทินธาคม

    การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    • “รูปคำยืมภาษาเขมรในสมุทรโฆษคำฉันท์,” ดำรงวิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): หน้า 149 – 176.

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติชล เอมดิษฐ

    E-mail : aemdit_c@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103042

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (ภาษาไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.ม. (ภาษาศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ.ด. (ภาษาศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

      • บทบาทที่แข่งขันกันระหว่างภาษาประจำชาติกับภาษาอังกฤษในประเทศกลุ่มอาเซียน: การศึกษาการเลือกภาษาในแวดวงกฎหมาย สื่อ การศึกษา วรรณกรรม และการเมือง, 2559-2562.

    การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

      • “อิทธิพลของภาษาต่อความคิด : ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาญี่ปุ่น,” ดำรงวิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): หน้า 221-242.
      • วิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): หน้า 221-242. 2. “อิทธิพลของภาษาอังกฤษต่อระบบปริชานของผู้รู้สองภาษา: การทดสอบสมมติฐานภาษาสัมพัทธ์ในผู้พูดภาษาไทย,” วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559): หน้า 7-15. ผู้เขียน 1. ชุติชล เอมดิษฐ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี 2. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์

    ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

    • การวิเคราะห์คำเรียกข้าวและระบบมโนทัศน์เรื่องข้าวในภาษาเวียดนามและภาษาไทยตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560, 29 หน้า ผู้เขียน 1. ชุติชล เอมดิษฐ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี 2. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ 3. วาทิต พุ่มอยู่
    • อิทธิพลของกาลในไวยากรณ์ต่อระบบปริชานของผู้พูดภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น และภาษาไทย: การทดสอบสมมติฐานวอร์ฟ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560, 25 หน้า.

    อาจารย์ ดร.วราภรณ์ พูลสถิติวัฒน์

    E-mail : poolsatitiwat_w@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103035

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2540)

    M.A. (European Studies) Chulalongkorn University, Thailand (1999)

    Graduate Certificate (International Studies) The University of Adelaide, Australia (2005)

    M.A. (Applied Linguistics) The University of Adelaide, Australia (2007)

    M.A. (Archives and Records Management) University of Liverpool, UK (2012)

    Ph.D. (Archives and Records Management) University of Liverpool, UK (2017)

    งานวิจัยที่สนใจ

    การจัดการเอกสารตามมาตรฐาน ISO 15489 การจัดการเอกสาร

    นโยบายการรับมอบจดหมายเหตุ

    การประเมินคุณค่าจดหมายเหตุ

    หลักการรับมอบจดหมายเหตุ


    ผลงานวิจัยและการตีพิมพ์

    Poolsatitiwat, W. (2017). Identification of the Factors Shaping Archival Education in Thailand and an Investigation into the Effectiveness of That Education in Preparing Graduates for the Archival Workplace. (Doctoral Thesis), University of Liverpool, UK.

    Poolsatitiwat, W. (2019). Records Management and Internal Quality Assessment: A Case Study of Higher Educational Institution in the Context of Thailand. Veridian E-Journal Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 12(3): 1-20.

    Poolsatitiwat, W. (2020). Perspectives on the Concepts of 'Records' and 'Archives' in Thailand and the Current Roles of National Archives of Thailand (NAT). Humanities, Arts and Social Sciences Studies (HASSS),

    วราภรณ์ พูลสถิติวัฒน์. (2565). งานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์หน้าที่เพื่อจัดทำต้นแบบแผนผังแฟ้มเอกสารและตารางการกำหนดอายุเอกสาร: กรณีศึกษาสำนักงานคณบดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ได้ทุนอุดหนุนจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 450 หน้า.

    วราภรณ์ พูลสถิติวัฒน์. และ พิมพ์พจน์ สีลาเขต (2566). งานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การวางระบบการจัดการเอกสารจดหมายเหตุของสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศโดยการประยุกต์ใช้หลักการจัดการเอกสารตามมาตรฐาน ISO 15489. ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 360 หน้า.

    อาจารย์ ดร.ทรงธรรม ปานสกุณ

    E-mail : pansakun_s@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103047

    ประวัติการศึกษา

    วท.บ. (จิตวิทยา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

    ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของจังหวัดตราดเพื่อเชื่อมโยงสู่กัมพูชาและเวียดนาม, 2559-2560.
    • การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และการเปลี่ยนศาสนาที่ปรากฏในจารึกเขมรโบราณ (Brahmanism, Buddhism and Religion Change in Khmer Inscription). การประชุมวิชาการระดับชาติ พื้นถิ่น โขง ชี มูล ครั้งที่ 3, ห้องประชุม 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศิลป์ถิ่นอีสาน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, หน้า 245-256, 24-26 ตุลาคม 2561.

    อาจารย์ ดร.นิพัทธ์ แย้มเดช

    E-mail : yamdate_n@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103034

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (วรรณคดี), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    ศศ.ม. (จารึกศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ปร.ด. (จารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

      • นิพัทธ์ แย้มเดช อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเมธี ใจศรี. 500 ปีโคลงนิราศหริภุญชัย. เชียงใหม่ : ไอรดาก๊อปปี้เท็กซ์, 2562.

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • นิพัทธ์ แย้มเดช และสมบัติ มั่งมีสุขศิริ. ““อิสระแห่งกวี” ใน นิราศภูเขาทองและนิราศเมืองเพชร ของสุนทรภู่,” ใน วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17,3 (กันยายน-ธันวาคม 2563) : 1-13.
    • นิพัทธ์ แย้มเดช. “โคลงนิราศหริภุญชัย: ความสัมพันธ์ทางวรรณศิลป์ระหว่างโคลงนิราศล้านนา และภาคกลาง,” ใน วรรณวิทัศน์ 19,1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 1-33.
    • นิพัทธ์ แย้มเดช. “ไตรภูมิพระร่วงและจารึกวัดป่ามะม่วง: ลักษณะร่วมด้านเนื้อหาและการสะท้อน ภาพลักษณ์ของพระมหาธรรมราชาที 1 (ลิไทย),” ใน วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 26,50 (มกราคม-เมษายน 2561) : 263-288.
    • นิพัทธ์ แย้มเดช. “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง : กรณีศึกษาปรากฏการณ์วิวาทะหลายกระแสและ การสถาปนาให้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐชาติ,” ใน รัฐศาสตร์สาร. 39,1 (มกราคม-เมษายน 2561) : 1-88.
    • นิพัทธ์ แย้มเดช และจิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. “จารึกปราสาทพิมานอากาศของพระนางศรีอินทร เทวี: สารัตถะ และความสำคัญในการสดุดีพระเกียรติพระเจ้าชัยวรมันที่ 7,” ใน วารสารไทยคดีศึกษา. 15,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 89-142.
    • นิพัทธ์ แย้มเดช. “จารึกปราสาทตาพรหมและจารึกปราสาทพระขรรค์: ศึกษาเปรียบเทียบในด้าน เนื้อหา,” ใน วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 24,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) : 48-77.

    อาจารย์ ดร.อุเทน วงศ์สถิตย์

    E-mail : wongsathit_u@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103034

    ประวัติการศึกษา

    พธ.บ. (ปรัชญา), มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    Ph.D. (Sanskrit), University of Pune, India

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อในวิษณุปุราณะ, 2560-2561.
        ผู้วิจัย
      • ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • การศึกษาเอกสารโบราณของไทพ่าเก รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย, 2560-2561.
    • โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมระยอง, 2561.
        ผู้วิจัย
      • กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
      • ประภัสสร์ ชูวิเชียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
    • การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • “ส สองห้อง” : อักขรวิธีพิเศษ จากลพบุรี สู่มอญ พม่า ล้านนา ล้านช้าง. โครงการสัมมนาวิชาการระดับชาติ "สรรพศาสตร์-ศิลป์ ถิ่นลพบุรี", อาคาร 90 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี, หน้า 406-414, 8 กรกฎาคม 2559.
    • Phnom Dongrak Mountain Range: an Area-studies for Peace. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 17-25, 8-9 December 2016.
        ผู้วิจัย
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • Suryavarman I Attacked Lopburi : The Epigraphical Evidence. The 13th International Conference on Southeast Asian Culture Values, Phnom Penh Hotel, Phnom Penh City, Cambodia, pages 11-16, 14-15 December 2017.
    • นิทานเรื่องผีเขมรกับบทบาทหน้าที่ทางสังคม (Cambodian Ghost Tales : Belief and Socio-cultural Function). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 262-269, 25 กรกฎาคม 2561.
        ผู้วิจัย
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • สัจภูมิ ลออ
    • ผ้า : ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาของสตรีสุโขทัย (Textiles: The Faith in Buddhism of Sukhothai Women). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 300-308, 25 กรกฎาคม 2561.
        ผู้วิจัย
      • อาภาโสม ฉายแสงจันทร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • CULTURES, HISTORY AND PRIDE OF TAI PHAKE PEOPLE IN INDIA. THE 14th International Conference on Asia Pacific Cultural Values. Angkor Century Hotel, Siem Reap, Cambodia, pages 141-146, 19-22 December 2018.

    อาจารย์ พอพล สุกใส

    E-mail : suksai_p@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103047

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ศศ.ม. (จารึกภาษาไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

      • ปราสาทพนมรุ้ง; จากหลักฐานด้านจารึกและเอกสารโบราณ, 2558-2561. ผู้วิจัย 1. พอพล สุกใส ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี 2. ศานติ ภักดีคำ

    ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

    • เวชศาสตร์ในจารึกและตำรายาในสมัยรัตนโกสินทร์. 2558, 20 หน้า.
     

    อาจารย์ ณัฐพล จันทร์งาม

    E-mail : channgam_n@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่่อ 103034

    ประวัติการศึกษา

    ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • พระราชพิธีพระบรมศพพระมหากษัตริย์กัมพูชา, พิมพ์รวมเล่มในหนังสือรวมบทความ เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ. การประชุมเสวนา เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ, ห้องประชุมใหญ่ โรงแรมรัตนโกสินทร์, หน้า 359–380, 3 กันยายน 2560.
        ผู้วิจัย
      • ณัฐพล จันทร์งาม ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ซีร็อง เลง

    อาจารย์ ดร. ชัชพิสิฐ ปาชะนี

    E-mail : PACHANEE_C@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103034

    ประวัติการศึกษา

    ปริญญาตรี

    ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555

    ปริญญาเอก

    ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จารึกศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2565

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

      วิทยานิพนธ์

    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2564) “การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะและสารัตถะของเอกสารตัวเขียนที่ใช้ในการติดต่อข้อราชการระหว่างไทยและกัมพูชาในช่วง พ.ศ. 2325-2427.” วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจารึกศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร.
    • ตำรา

    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2562) “หน่วยที่ 6 ภาษา.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา พื้นฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร หน่วยที่ 1-7 11010. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2562) “หน่วยที่ 14 ความสัมพันธ์กับประเทศไทย.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา พื้นฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร หน่วยที่ 8-15 11010. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    • กังวล คัชชิมา และชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2559) “หน่วยที่ 14 ธุรกิจการขนส่ง.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ภาษาเขมรเชิงธุรกิจ (Khmer for Business) หน่วยที่ 8-15 11012. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    • บทความทางวิชาการ

    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2563) "ตัวอักษรและอักขรวิธีที่ใช้บันทึกภาษาเขมรในเอกสารตัวเขียน ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 25." ใน วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ ปีที่ 27, ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563; 277-309. ฐานข้อมูลวารสาร TCI1.
    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2559) “ที่มาของอักษรแบบอินเดียเหนือในอาณาจักรกัมพูชา สมัยพระนครตอนต้น.” ใน หนังสือรวมบทความทางวิชาการเนื่องในวาระอายุวัฒนมงคลครบ 72 ปี ของ ผศ.ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา.
    • ชัชพิสิฐ ปาชะนี. (2557) “จดหมายเหตุภาษาอังกฤษ: ศุภอักษรสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี กรณีเปิดจดหมายชาวต่างชาติในกัมพูชา.” ใน ภาษา-จารึก ฉบับที่ 12 รวมบทความวิชาการเรื่อง “มุมมองจากจารึกและเอกสารโบราณ” (สื่ออิเล็กทรอนิกส์) เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ รศ.กรรณิการ์ วิมลเกษม.
    • Chatpisit Pachanee. (2015) “The Iconography of the Seals in the Khmer Manuscripts Used to Communicate with the Court of Thailand in the Reign of King Rama III-IV.” in 16th World Sanskrit Conference Bangkok, 28 June – 2 July, 2015.

    อาจารย์ ดร. วุฒิพงษ์ ถวิลสมบัติ

    E-mail : thawinsombat_w@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103035

    ประวัติการศึกษา

    ปริญญาตรี

    ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย วิชาโทภาษาฮินดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555

    ปริญญาโท

    ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สันสกฤตศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559

    M.A. Hindi (Translation Technology) Mahatma Gandhi International Hindi University, India, 2014

    ปริญญาเอก

    ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สันสกฤตศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2565

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

      การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • อายุรเวทในสุภาษิตสันสกฤต. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 เรื่อง “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 638-651, 11-12 กรกฎาคม 2559
    • การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    • “เหล้าในอายุรเวท,” วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565): หน้า 228-249.
    • สารนิพนธ์และวิทยานิพนธ์

    • "การศึกษาวิเคราะห์องค์ความรู้ด้านอายุรเวทในคัมภีร์อัษฏางคหฤทยะ ศึกษาเฉพาะสูตรสถานะ." วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสันสกฤตศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564.
    • "การศึกษาวิเคราะห์หนังสือประชุมสุภาษิตสันสกฤต (200 โศลก) เล่มที่ 1." การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสันสกฤตศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558.
    • “Making Trilingual Dictionary in the field of Tourism (With special preference to Hindi-Thai-English).” Project work submitted for the Degree of Master of Arts in Hindi, School of Translation and Interpretation, Mahatma Gandhi International Hindi University, 2014.
    • "การศึกษาการแปลคำปรบทในภาษาฮินดีเป็นภาษาไทย." รายงานการค้นคว้าเฉพาะบุคคล ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554.

    อาจารย์ ดอกรัก พยัคศรี

    E-mail : PAYAKSRI_D@su.ac.th

    เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103035

    ประวัติการศึกษา

    ปริญญาตรี

    ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2543

    ปริญญาโท

    ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปาก 2547

    ปริญญาเอก

    ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

      รองศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ บุญยฤทธิ์

      E-mail : boonyarith_o@su.ac.th

      เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103035

      ประวัติการศึกษา

      ศศ.บ. (ภาษาศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

      ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์), มหาวิทยาลัยมหิดล

      Ph.D. (Linguistics), The Australian National University, Australia

      ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

      โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

      • การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554, 2558-2559.
          ผู้วิจัย
        • อรวรรณ บุญยฤทธิ์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
        • ชวลิต ขาวเขียว ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
        • ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
        • ชินาพัจน์ ศรีวิลัย หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
        • ภคมน เสงี่ยมจิตต์ หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
        • วันวิสาข์ ชนะประเสริฐ หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา คณะโบราณคดี

      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา

      E-mail : chirapat.prapandvidya@gmail.com

      เบอร์โทรศัพท์ :-

      ประวัติการศึกษา

      ศิลปบัณฑิต (โบราณคดี) มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๐๖ Master of Arts in Sanskrit, Maharaja Sayaji Rao University of Baroda ประเทศอินเดีย, ๒๕๑๓ Doctor of Philosophy, Maharaja Sayaji Rao University of Baroda ประเทศอินเดีย, ๒๕๑๘

      ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์