หลักสูตร
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
- หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
- สาขาวิชาโบราณคดี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
- สาขาวิชาโบราณคดี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
- สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
- สาขาวิชามานุษยวิทยา
- สาขาวิชามานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
- สาขาวิชาภาษาสันสกฤต
- สาขาวิชาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก
- สาขาวิชาการจัดการจดหมายเหตุและสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม
- สาขาวิชาการจัดการจดหมายเหตุและสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
- หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ปรัชญา
การศึกษางานศิลปกรรม นำมาสู่ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของคน
ความสำคัญ
วิชาช่างในดินแดนไทยสร้างขึ้นในความเชื่อของศาสนา โดยเฉพาะพุทธศาสนาซึ่งสืบทอดมานานกว่าพันปี แต่งานช่างเหล่านี้แทบไม่มีการบันทึกความรู้ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรการชื่นชมรับรู้งานช่าง หรือเรื่องราวของช่าง จากการบอกผ่านเล่าต่อกันมา จึงต้องการคำอธิบายตามกระบวนการของข้อมูลหลักฐานที่เป็นเหตุผล และการเชื่อมโยงข้อมูลความรู้กับสาขาวิชาอื่น ด้วยวิธีการอันเหมาะสม
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจศิลปกรรมโบราณในประเทศไทย และประเทศใกล้เคียงตามหลักการของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
- เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตสามารถจัดระเบียบความรู้ความเข้าใจงานช่างไทยโบราณเพื่อการศึกษาค้นคว้า และวิจัยเพื่อการประยุกต์พัฒนา ทั้งในสาขาวิชาชีพ และวิชาการ
- เพื่อให้นักศึกษาและบัณฑิตมีจิตสำนึกที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรม มีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ภาคการศึกษา 1/2565
317 501 264 ART HISTORY IN THAILAND TQF3 2565 คลิกที่นี่
317 513 Concepts and Techniques of Thai Painting TQF3 2565 คลิกที่นี่
317 532 field workMATQF3.2565 คลิกที่นี่
317 624 Seminar on Lanna Art TQF3 2565 คลิกที่นี่
317 626 Seminar in Ayutthaya ArtTQF3.2565 คลิกที่นี่
317 627 Seminar on Rattanakosin Art คลิกที่นี่
317-511-South-and-Southeast-Asian-Art-TQF3-2565 คลิกที่นี่
317-512-Art-in-East-Asia-TQF3 2565 คลิกที่นี่
317-629-Seminar-on-Icongraphy-TQF3-2565 คลิกที่นี่