ภาควิชาโบราณคดี

ภาควิชาโบราณคดี


Youtube: - Facebook: คลิกที่นี่ โปสเตอร์ สาขาวิชาโบราณคดี : คลิกที่นี่

พัฒนาบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญด้านโบราณคดีและให้เป็นส่วนหนึ่งของสังคมในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชาติ

รองศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ (หัวหน้าภาควิชา)

   

รองศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์

Email : suteerattana_k@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 021054686 ต่อ 103028

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม), มหาวิทยาลัยศิลปากร ปร.ด. (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • สถานภาพความรู้ด้านโบราณคดีกรุงเทพมหานคร: ข้อมูล ทิศทาง และแผนการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ในอนาคต, 2557-2559.
    • โครงการศึกษาข้อมูลมรดกวัฒนธรรมที่สำคัญในมิวเซียมสยามและบริเวณโดยรอบ เพื่อจัดทำสารสนเทศดิจิตอล, 2559.
    • มรดกวัฒนธรรมเจ้าพระยาด้านโบราณคดี: การสำรวจมรดกวัฒนธรรมบริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่สะพานพระราม 7 ถึง สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า, 2559.
    • โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมระยอง, 2561.
        ผู้วิจัย
      • กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
      • ประภัสสร์ ชูวิเชียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
      • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
      • ร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี

การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

    • “ป้อม คู กำแพงเมืองกรุงธนบุรี ข้อค้นพบใหม่จากหลักฐานทางโบราณคดี,” เมืองโบราณ ปีที่ 43 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2560): หน้า 51 - 58.

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • ก่อร่างสร้างเมืองจากชุมชนบางกอกสู่กรุงรัตนโกสินทร์: ข้อมูลใหม่จากหลักฐานทางโบราณคดี. 2559.

ศาสตราจารย์ ดร.รัศมี ชูทรงเดช

Email :shoocongdej_r@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103030

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร ศM.A. (Anthropology), The University of Michigan, U.S.A. Ph.D. (Anthropology), The University of Michigan, U.S.A.

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

        • มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์และพลวัตทางวัฒนธรรมบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน, 2560-2563.

การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

        • “Tham Lod rockshelter (Pang Mapha district, north-west Thailand): Evolution of the Lithic assemblages during the late Pleistocene,” Quaternary International volume 416 (September 2016): pages 151 - 161.
            ผู้วิจัย
          • Chitkament T
          • Gillard C
          • รัศมี ชูทรงเดช ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
        • “Adaptations to sea level change and transitions to agriculture at Khao Toh Chong rockshelter, Peninsular Thailand,” Journal of Archaeological Science volume 77 issue/No. Special Issue: SI (January 2017): pages 94 - 108.
            ผู้วิจัย
          • Marwick, B.
          • Van Vlack, H.G
          • Conrad, C.
          • รัศมี ชูทรงเดช ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
          • Thongcharoenchaikit, C.
          • Kwak, S.
        • “A Late Pleistocene woman from Tham Lod, Thailand: The influence of today on a face from the past,” Antiquity volume 91 issue/No. 356 (April 2017): pages 289 – 303.
            ผู้วิจัย
          • Hayes, S.
          • รัศมี ชูทรงเดช ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
          • Pureepatpong, N.
          • Sangvichien, S.
          • Chintakanon, K.

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

        • "การใช้ทฤษฎีในงานโบราณคดีไทย," ใน ทฤษฎีกับการวิจารณ์ศิลปะ ทัศนะของนักวิชาการไทย. สำนักพิมพ์นาคร, 2559, 60 หน้า.
        • วัฒนธรรมโลงไม้ไทยในบริบทอาเซียน. 2559.
        • The History and Practice of Archaeology in Thailand. In J.Habu, P.Lape & J.Olsen (Eds.) (Handbook of East and Southeast Asian Archaeology). Springer, 2016, 14 หน้า.

การได้รับรางวัลจากผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

    • สืบจากซาก. ผลงานวิจัยเด่น ด้านวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2561.

รองศาสตราจารย์ ดร.สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง

E-mail : khunsong_s@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103025

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • โครงการบูรณาการศาสตร์เพื่อพัฒนาเมืองโบราณอู่ทองเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้านโบราณคดี, 2560.

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • สมุดภาพความเชื่อมโยงร่องรอยความเจริญของพระพุทธศาสนาผ่านแผนที่วัฒนธรรมอาเซียน (INDIA-ASEAN Archaeological Atlas from Satellite Data "Connectivity of Regional Culture : Finite Routes & Infinite Values"). 2559.
  • โบราณคดีเมืองนครปฐม; การศึกษาอดีตของศูนย์กลางแห่งทวารวดี. เคล็ดไทย, 2560, 255 หน้า.
  • เมืองโบราณอู่ทอง : รายงานสรุปผลการขุดศึกษาโบราณสถานที่เนินพลับพลาในปี 2560. 2560.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวลิต ขาวเขียว

E-mail : khaokhiew_c@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103027

ประวัติการศึกษา

วท. (เทคโนโลยีธรณี), มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร
วท.ม. (โลกศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554, 2558-2559.
      ผู้วิจัย
    • อรวรรณ บุญยฤทธิ์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • ชวลิต ขาวเขียว ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
    • ชินาพัจน์ ศรีวิลัย หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
    • ภคมน เสงี่ยมจิตต์ หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
    • วันวิสาข์ ชนะประเสริฐ หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา คณะโบราณคดี
  • โครงการวิจัยภูมิสัณฐานชายฝั่งทะเลโบราณ เมืองท่า เส้นทางการค้า และความเชื่อมโยงกับการตั้งถิ่นฐานแรกเริ่มในประเทศไทยในบริบทของภูมิอารยธรรมสุวรรณภูมิ, 2560-2561.
  • โครงการพัฒนาศักยภาพพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดี ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อขยายผลการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, 2561.
  • โครงการศึกษาขุดค้นและประเมินผลกระทบทางโบราณคดี สำหรับโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก เส้นที่ 5, 2561.
  • การประยุกต์ใช้เครื่องมือสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ประเภทการหยั่งความลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ (GPR) สำหรับการปฏิบัติงานภาคสนามทางโบราณคดี : กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีบ้านท่าโป๊ะ ตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี, 2561-2562.
      ผู้วิจัย
    • ชวลิต ขาวเขียว ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • บริสุทธิ์ บริพนธ์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
  • โครงการวิจัยด้านการขุดค้นทางโบราณคดี สำหรับโครงการยกระดับแหล่งท่องเที่ยวลุ่มน้ำโขง อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม, 2561-2562.
  • ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • โครงการวิจัยกำหนดขอบเขตที่ดินกำแพงเมือง คูเมือง (กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ว่าจ้าง). 2559.
  • โครงการวิจัยภูมิสัณฐานชายฝั่งทะเลโบราณ เมืองท่า เส้นทางการค้า และความเชื่อมโยงกับการตั้งถิ่นฐานแรกเริ่มในประเทศไทยในบริบทของภูมิอารยธรรมสุวรรณภูมิ (สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ว่าจ้าง). 2559.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประอร ศิลาพันธุ์

E-mail : silapanth_p@su.ac.th

เบอรโทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103026

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร วท.ม. (บรรพชีวินวิทยา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

    • การสำรวจแหล่งโบราณคดีบนเส้นทางข้ามคาบสมุทรไทยตอนบน, 2559.

การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

    • การติดต่อแลกเปลี่ยนระหว่างชุมชนโบราณในภาคใต้ของประเทศไทยและชุมชนโบราณในภาคกลางและภาคใต้ของเวียดนาม. ความก้าวหน้าทางวิชาการโบราณคดีและการจัดการทางทรัพยากรวัฒนธรรมของชาติ, หอประชุมวชิราวุธานุสรณ์, หน้า 45 – 60, 20-21 พฤศจิกายน 2557.
    • The Ornaments Found at the Khao Sek Archaeological Site, Chumphon Province, Thailand. "ASEAN Archaeologies in the 21th Century" The first International Symposium in Honor of Prof. Chin You-Di, The Royal River Hotel Thailand, pages 183 – 184, 16-17 November 2016.
        ผู้วิจัย
      • ประอร ศิลาพันธุ์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
      • ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ผาสุข อินทราวุธ
      • จิรัสสา คชาชีวะ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • Knobbed Ware in Thailand. International Seminar on Archaeological Heritage of South Asia,Department of History Gauhati University, Assam, India, 19-21 November 2017
        ผู้วิจัย
      • ประอร ศิลาพันธุ์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
      • จิรัสสา คชาชีวะ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • The Development of Coastal Polities in the Upper Thai-Malay peninsula. River Books, 2014, 22 pages.
      ผู้เขียน
    • ประอร ศิลาพันธุ์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • Bellina, B.
    • Chaisuwan, B.
    • Thongcharoenchaikit, c.
    • Allen, J.
    • Bernard, V.
    • Borell, B.
    • Bouvet, F.
    • Castillo, C.
    • Dussubieux, L.
    • Malakie LaClair, J.
    • Srikanlaya, S.
    • Peronnet, S.
    • Pryce, T.O.

อาจารย์ ดร. นฤพล หวังธงชัยเจริญ

E-mail : wangthongchai_n@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103002

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนแรกเริ่มในเขตอำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์, 2560.

อาจารย์ ดร.ประสิทธิ์ เอื้อตระกูลวิทย์

E-mail : auetrakulvit_p@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ103027

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Diplôme d' Etudes Approfondies, Université de Provence, France
Docteur de l’ Université de Provence : mention Letters et Sciences Humaines

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • โครงการสำรวจทางโบราณคดีเพื่อจัดทำฐานข้อมูลแหล่งมรดกวัฒนธรรมเมืองโบราณฮอด และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง, 2561.
  • โครงการอนุรักษ์และพัฒนากำแพงเมือง แจ่งเมืองเชียงใหม่ ตำบลหายยา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, 2561.
  • โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองประวัติศาสตร์ฮอด จังหวัดเชียงใหม่, 2561.
  • การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

  • “A sustainable review of the Middle Pleistocene benchmark sites including the Ailuropoda–Stegodon faunal complex: The Proboscidean point of view,” Quaternary International Volume 416 issue/No. 19 (September 2016): pages 12 – 26.
      ผู้วิจัย
    • Valery Zeitoun
    • Winayalai Chinnawutb
    • Regis Debruynec
    • Stephane FreredM
    • ประสิทธิ์ เอื้อตระกูลวิทย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
  • “The perforated stones of the Doi Pha Kan burials (Northern Thailand): A Mesolithic singularity?,” COMPTES RENDUS PALEVOL volume 16 issue/No. 3 (April-May 2017): pages 351 – 361.
      ผู้วิจัย
    • Sunisa Imdirakphol
    • Antoine Zazzo
    • ประสิทธิ์ เอื้อตระกูลวิทย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • Chaturaporn Tiamtinkrit
    • Alain Pierret
    • Hubert Forestier

อาจารย์ ดร.ผุสดี รอดเจริญ

E-mail :rodcharoen_p2@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103026

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • คุณลักษณะเฉพาะของลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายสมัยทวารวดีจากแหล่งโบราณคดีในภาคกลางของประเทศไทย ปีที่ 1, 2560.
  • การศึกษาประวัติ และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ณ ร้านยาบ้านหมอหวาน (บำรุงชาติสาสนายาไทย) เพื่อจัดการเรียนรู้ในรูปแบบพิพิธภัณฑ์, 2560-2561.
  • การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

  • Relations of Thailand and India Reflected in Glass beads dated in the Dvaravati Period. International Seminar on Archaeological Heritage of South Asia, Department of History Gauhati University, Assam, India, pages 22–23, 19-21 November 2017.
  • ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • โครงการวิจัยเรื่อง "คุณลักษณะเฉพาะของลูกปัดแก้วสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายและสมัยทวารวดีจากแหล่งโบราณคดีในภาคกลางของประเทศไทย ปีที่ 1" (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ว่าจ้าง). 2559.

อาจารย์ ดร.ภีร์ เวณุนันทน์

E-mail : venunan_p@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103028

ประวัติการศึกษา

Ph.D. (Archaeometallurgy) University College London, UK (2016) MS.c. (Technology and Analysis of Archaeological Material) University College London, UK (2011) ศศ.ม. (โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2553) ศศ.บ. (โบราณคดี) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548)

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

    ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบ บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ Khamsiri, S., Venunan, P., Khaokhiew, C., Silapanth, P., Banron, S., and Pailoplee, S., (2022). “Late iron-smelting production of Angkor Highland, metallurgical site at Buriram Province, northeastern Thailand: A view from luminescence dating” Archaeological Research in Asia 31, September 2022, 100395. https://doi.org/10.1016/j.ara.2022.100395 (SCOPUS) Khamsiri, S., Venunan, P., Khaokhiew, C., Silapanth, P., Banron, S., and Pailoplee, S., (2022). “Luminescence dating of archaeometallurgical slag from Buriram Province, northeastern Thailand” ScienceAsia 48 (2022), 788-796. 10.2306/scienceasia1513-1874.2022.114 (ISI) Venunan, P., Ploymukda, S., Boripon, B., Kwansakul, P., Suteerattanapirom, K., and Pryce, T.O., (2022). “A royal wreck? Morpho-technological, elemental and lead isotope analysis of ingots from the Bang Kachai II shipwreck, Thailand” Journal of Archaeological Science: Reports 42, 103414. https://doi.org/10.1016/j.jasrep.2022.103414. (SCOPUS)

อาจารย์ ดร.อนุรักษ์ ดีพิมาย

Email : depimai_a@su.ac.th

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103026

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) มหาวิทยาลัยศิลปากร (เกียรตินิยมอันดับ 1), 2553 ปริญญาโท

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558 ปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์