สาขาวิชาภาษาตะวันออก

อาจารย์ ดร.จตุพร โคตรกนก
ศศ.บ. (ภาษาฝรั่งเศส), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Diplôme d'Études Approfondies de langues, Litteratures et Societes Institut National des Langues et Civilisations Orientales, France
ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
Note on Thai Terminology : the Status of Khmer-loanwords in Thai and her Homeland. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 127-133, 8-9 December 2016.
-
ผู้วิจัย
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
-
สมุดพระตำหรับขี่ช้างฉบับหอสมุดแห่งชาติ (Samut Pra Tamrap Khi Chang of National Library of Thailand). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 124-131, 25 กรกฎาคม 2561.
-
ผู้วิจัย
- จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- วริศรา โกรทินธาคม
- “รูปคำยืมภาษาเขมรในสมุทรโฆษคำฉันท์,” ดำรงวิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): หน้า 149 – 176.
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ
การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมัตถ์ คำเอก
พธ.บ. (ปรัชญา), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph.D. (Sanskrit), Banaras Hindu University, India
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
- Mon Ramayana. World Ramayana Conference, Jabalpur, India, 22-23 January 2017.
- Hindi in the past, Present and future in Thailand. ภาษาฮินดีนานาชาติ (Tridivasiya Antararashtriya Sammelan), Bhartiya Vidya Mandir, Bhartiya Sanskriti Sansad, Kolkata, India, 5-7 January 2018.
- Buddhism in Thailand. International Seminar "World in Sanskrit, Sanskrit in the world", Doctor Harisingh Gour University, Sagar(M.P.), India, 16-18 March 2018.
- ทำไมพระโหราธิบดีจึงตั้งชื่อแบบเรียนว่า "จินดามณี". การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และบูรณาการภาษา ครั้งที่ 1 ตะวันตกพบตะวันออก, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศาลายา นครปฐม, หน้า 74-81, 24-25 พฤษภาคม 2561.
- “Bangkok men Watpho mandir Thai yogi ke vibhinn yogasan ki mudraem,” NAVADHI volume 2 (January 2017): pages 4-7.
- “Thailand mem Hindi Adhyayan mera Anubhav,” Thailand Hindi Parishad Journal issue/No.3 (January 2018): pages 22-28.
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ
การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.สำเนียง เลื่อมใส
ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สำนักเรียนวัดดาวดึงษาราม
พธ.บ. (ศาสนา) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph.D. (Sanskrit), Banaras Hindu University, India
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
- การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทพระมหาเมาทคัลยายนะกับพระมาลัยในคัมภีร์พระพุทธศาสนา, 2559-2560.
- “แนวทางการจัดการอาหารปลอดภัยที่ยั่งยืนด้วยสัมมาอาชีวะสำหรับสังคมไทย (The Way of Sustainable Food Safety Management through Right Livelihood for Thai Society),” บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ ปีที่ 13 (มิถุนายน 2560): หน้า 146-156.
-
“กรรม" ในไภษัชยวัสตุแห่งคัมภีร์มูลสรวาสติวาทวินยวัสตุ ("Karma" in Bhaisajyavastu of The Scripture of Mulasarvastivada)” วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับพิเศษ (มกราคม 2561): หน้า 250-263.
-
ผู้วิจัย
- สำเนียง เลื่อมใส ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- เสกสรรค์ สว่างศรี
- มหาวัสตุอวทาน เล่ม 1. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2553, 512 หน้า.
- มหาวัสตุอวทาน เล่ม 2. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2557, 714 หน้า.
- มหาวัสตุอวทาน เล่ม 3. มูลนิธิสันสกฤตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2560, 656 หน้า.
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์
การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา
ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สนามหลวงแผนกบาลี
ร.บ. (ทฤษฎีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
Note on Thai Terminology : the Status of Khmer-loanwords in Thai and her Homeland. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 127-133, 8-9 December 2016.
-
ผู้วิจัย
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- จตุพร โคตรกนก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
-
Phnom Dongrak Mountain Range: an Area-studies for Peace. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 17-25, 8-9 December 2016.
-
ผู้วิจัย
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
-
บุพกถาของรัฐธรรมนูญกัมพูชา (The Preface of Constitution of Cambodia). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 40-46, 25 กรกฎาคม 2561
-
ผู้วิจัย
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- พัชราพรรณ กะตากูล
-
พิธีแต่งงานของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทยที่ตำบลชุมแสง อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ (A Study of Wedding Ceremony of Chum Seang Sub-district, Chomphra district, Surin province). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย", สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 245-253, 25 กรกฎาคม 2561.
-
ผู้วิจัย
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ทิศติยาทร ดาทอง
- TRANSLITERATION OF PALI INTO THAI SCRIPT: PROBLEMS AND SOLUTIONS. THE 14th International Conference on Asia Pacific Cultural Values. Angkor Century Hotel, Siem Reap, Cambodia, pages 52-60, 19-22 December 2018.
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย
ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค)
พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph.D. (Sanskrit), University of Pune, India
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
การศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อในวิษณุปุราณะ, 2560-2561.
-
ผู้วิจัย
- ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ มั่งมีสุขศิริ
ป.ธ. 9 (เปรียญธรรม 9 ประโยค), สำนักเรียนวัดดาวดึงษาราม
พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph. D. (Sanskrit), University of Delhi, India
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
โฉมงามสำคัญไฉน?:อลังการกับคติความเชื่อกามเทพในจารึกภาษาสันสกฤตของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (What a grand beauty? : the Poetic Ornaments and the belief of Kamadeva Cupid in King Jayavarman VII's Sanskrit Inscriptions). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 73–85, 25 กรกฎาคม 2561.
-
ผู้วิจัย
- สมบัติ มั่งมีสุขศิริ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- นิพัทธ์ แย้มเดช
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ
รองศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ บุญยฤทธิ์

รองศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ บุญยฤทธิ์
ศศ.บ. (ภาษาศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์), มหาวิทยาลัยมหิดล Ph.D. (Linguistics), The Australian National University, Australiaผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์
- การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554, 2558-2559.
- ผู้วิจัย
- อรวรรณ บุญยฤทธิ์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ชวลิต ขาวเขียว ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
- ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
- ชินาพัจน์ ศรีวิลัย หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
- ภคมน เสงี่ยมจิตต์ หน่วยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา งานบริการการศึกษา สำนักงานเลขานุการ คณะโบราณคดี
- วันวิสาข์ ชนะประเสริฐ หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา คณะโบราณคดี

อาจารย์ ดร.ทรงธรรม ปานสกุณ
วท.บ. (จิตวิทยา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ศศ.ม. (เขมรศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ด. (ภาษาเขมร), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
- การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของจังหวัดตราดเพื่อเชื่อมโยงสู่กัมพูชาและเวียดนาม, 2559-2560.
- ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และการเปลี่ยนศาสนาที่ปรากฏในจารึกเขมรโบราณ (Brahmanism, Buddhism and Religion Change in Khmer Inscription). การประชุมวิชาการระดับชาติ พื้นถิ่น โขง ชี มูล ครั้งที่ 3, ห้องประชุม 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศิลป์ถิ่นอีสาน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, หน้า 245-256, 24-26 ตุลาคม 2561.
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

อาจารย์ ณัฐพล จันทร์งาม
ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
พระราชพิธีพระบรมศพพระมหากษัตริย์กัมพูชา, พิมพ์รวมเล่มในหนังสือรวมบทความ เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ. การประชุมเสวนา เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ, ห้องประชุมใหญ่ โรงแรมรัตนโกสินทร์, หน้า 359–380, 3 กันยายน 2560.
-
ผู้วิจัย
- ณัฐพล จันทร์งาม ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ซีร็อง เลง
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

อาจารย์ ดร.อุเทน วงศ์สถิตย์
พธ.บ. (ปรัชญา), มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (จารึกภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ph.D. (Sanskrit), University of Pune, India
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
-
การศึกษาวิเคราะห์คติความเชื่อในวิษณุปุราณะ, 2560-2561.
-
ผู้วิจัย
- ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- การศึกษาเอกสารโบราณของไทพ่าเก รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย, 2560-2561.
-
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมระยอง, 2561.
-
ผู้วิจัย
- กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
- ประภัสสร์ ชูวิเชียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
- “ส สองห้อง” : อักขรวิธีพิเศษ จากลพบุรี สู่มอญ พม่า ล้านนา ล้านช้าง. โครงการสัมมนาวิชาการระดับชาติ "สรรพศาสตร์-ศิลป์ ถิ่นลพบุรี", อาคาร 90 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี, หน้า 406-414, 8 กรกฎาคม 2559.
-
Phnom Dongrak Mountain Range: an Area-studies for Peace. The 12th International Conference on "Southeast Asian Cultural Values: Culture of Peace", Phnom Penh Hotel, Cambodia, pages 17-25, 8-9 December 2016.
-
ผู้วิจัย
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- ศิริสาร เหมือนโพธิ์ทอง ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- Suryavarman I Attacked Lopburi : The Epigraphical Evidence. The 13th International Conference on Southeast Asian Culture Values, Phnom Penh Hotel, Phnom Penh City, Cambodia, pages 11-16, 14-15 December 2017.
-
นิทานเรื่องผีเขมรกับบทบาทหน้าที่ทางสังคม (Cambodian Ghost Tales : Belief and Socio-cultural Function). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 262-269, 25 กรกฎาคม 2561.
-
ผู้วิจัย
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- สัจภูมิ ลออ
-
ผ้า : ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาของสตรีสุโขทัย (Textiles: The Faith in Buddhism of Sukhothai Women). การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ “ศิลปะและวัฒนธรรม : พลวัตในสังคมร่วมสมัย”, สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 300-308, 25 กรกฎาคม 2561.
-
ผู้วิจัย
- อาภาโสม ฉายแสงจันทร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
- CULTURES, HISTORY AND PRIDE OF TAI PHAKE PEOPLE IN INDIA. THE 14th International Conference on Asia Pacific Cultural Values. Angkor Century Hotel, Siem Reap, Cambodia, pages 141-146, 19-22 December 2018.
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

อาจารย์ ดร.นิพัทธ์ แย้มเดช
ศศ.บ. (วรรณคดี), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศศ.ม. (จารึกศึกษา), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปร.ด. (จารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก), มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์
-
- นิพัทธ์ แย้มเดช อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเมธี ใจศรี. 500 ปีโคลงนิราศหริภุญชัย. เชียงใหม่ : ไอรดาก๊อปปี้เท็กซ์, 2562.
การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ
- นิพัทธ์ แย้มเดช และสมบัติ มั่งมีสุขศิริ. ““อิสระแห่งกวี” ใน นิราศภูเขาทองและนิราศเมืองเพชร ของสุนทรภู่,” ใน วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17,3 (กันยายน-ธันวาคม 2563) : 1-13.
- นิพัทธ์ แย้มเดช. “โคลงนิราศหริภุญชัย: ความสัมพันธ์ทางวรรณศิลป์ระหว่างโคลงนิราศล้านนา และภาคกลาง,” ใน วรรณวิทัศน์ 19,1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 1-33.
- นิพัทธ์ แย้มเดช. “ไตรภูมิพระร่วงและจารึกวัดป่ามะม่วง: ลักษณะร่วมด้านเนื้อหาและการสะท้อน ภาพลักษณ์ของพระมหาธรรมราชาที 1 (ลิไทย),” ใน วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 26,50 (มกราคม-เมษายน 2561) : 263-288.
- นิพัทธ์ แย้มเดช. “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง : กรณีศึกษาปรากฏการณ์วิวาทะหลายกระแสและ การสถาปนาให้เป็นสัญลักษณ์ของรัฐชาติ,” ใน รัฐศาสตร์สาร. 39,1 (มกราคม-เมษายน 2561) : 1-88.
- นิพัทธ์ แย้มเดช และจิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. “จารึกปราสาทพิมานอากาศของพระนางศรีอินทร เทวี: สารัตถะ และความสำคัญในการสดุดีพระเกียรติพระเจ้าชัยวรมันที่ 7,” ใน วารสารไทยคดีศึกษา. 15,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561) : 89-142.
- นิพัทธ์ แย้มเดช. “จารึกปราสาทตาพรหมและจารึกปราสาทพระขรรค์: ศึกษาเปรียบเทียบในด้าน เนื้อหา,” ใน วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 24,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) : 48-77.